{[['']]}
ทศชาติชาดก
Posted by satasukh
Posted on วันพุธ, สิงหาคม 14, 2556
with No comments
ป้ายกำกับ:
แอนนิเมชั่น
พระมหาชนก
Posted by satasukh
Posted on วันพุธ, สิงหาคม 14, 2556
with No comments
“บุรุษผู้เป็นบัณฑิต พึงมีความหวังตั้งมั่นไว้
พึงพยายามเรื่อยไป จนกว่าจะสำเร็จ สมปรารถนา
เราสามารถขึ้นจากน้ำ ได้รับราชสมบัติ ก็เพราะมีความเพียรพยายาม
ไม่ท้อถอย นรชนผู้มีปัญญาแม้มีทุกข์
ก็ไม่พึงหมดหวังในความสุข จริงอยู่คนเป็นอันมาก
ถูกทุกข์กระทบกระทั่ง ก็ทำสิ่งที่ไม่มีประโยชน์
ถูกสุขกระทบกระทั่ง ก็ทำในสิ่งที่มีประโยชน์
คนเหล่านั้นไม่นึกถึงข้อความนั้น จึงถึงความตาย
สิ่งที่มิได้คิดไว้จะมีก็ได้ สิ่งที่คิดไว้จะพินาศไปก็ได้
โภคะทั้งหลายของคน มิได้สำเร็จ
เนื่องด้วยความคิดเท่านั้น”
แอนนิเมชั่น,
{[['']]}
ป้ายกำกับ:
แอนนิเมชั่น
การ์ตูนพุทธประวัติ - Life of the Buddha (ภาษาไทย)
Posted by satasukh
Posted on วันพุธ, สิงหาคม 14, 2556
with No comments
ป้ายกำกับ:
พระพุทธเจ้า
สารคดี ตามรอยพระพุทธเจ้า
Posted by satasukh
Posted on วันศุกร์, สิงหาคม 09, 2556
with No comments
สารคดีแห่งศตวรรษ "ตามรอยพระพุทธเจ้า"
เคยมีคนกล่าวไว้ว่า ปรัชญาทางศาสนาพุทธ คือรากฐานของวิทยาศาสตร์ ในยุคปัจจุบันทำไมเขาจึงกล่าวเช่นนั้น กว่า 2500 ปีก่อน เจ้าชายสิทธัตถะทรงค้นพบอะไร ทำไมสิ่งที่พระองค์ทรงค้นพบ จึงเปลี่ยนแปลงความเชื่ออย่างขนานใหญ่ ให้กับคนในยุคนั้น ยุคที่เต็มไปด้วยความเชื่อเรื่องเทพเเจ้าและอิทธิฤิทธิ์ปาฎิหารย์ และ ทำไมศาสนาพุทธจึงสูญหายไปจากอินเดีย ดินแดนที่ถือว่าเป็นจุดกำเนิดแล้วปัจจุบันหล่ะ ศาสนาพุทธหายไปจากอินเดียจริงหรือหรือยังคงเหลือ อะไรบางอย่างไว้
ตามรอยพระพุทธเจ้า สารคดีความยาว 12 ชั่วโมง กับการเดินทางอันยาวนาน เพื่อค้นหาความจริงอันยิ่งใหญ่ ที่เคยฝังตัวอยู่ใต้แผ่นดินของอินเดียมานานกว่า 700 ปี เรื่องราวของศาสดาเอกองค์หนึ่งของโลก ผู้มีปรัชญายึดหลักทางสายกลาง
ตามรอยพระพุทธเจ้า จะพาผู้ชมย้อนเวลากลับไปในอดีต ครั้งสมัยก่อนพุทธกาล เพื่อเรียนรู้สภาพสังคม และความเชื่อในดินแดนชมพูทวีป ก่อนเกิดการเปลี่ยนแปลงทางความเชื่อครั้งใหญ่ ความรุ่งเรืองและมั่นคงอย่างถึงขีดสุด ของศาสนาพุทธในสมัยพุทธกาล ความล่มสลายและสูญสิ้นไปจากแผ่นดินเกิดอย่างสิ้นเชิง ในสมัยหลังพุทธกาล
อะไร เป็นสาเหตุความเสื่อมสลายในครั้งนั้น ความแตกต่างทางความเชื่อของศาสนาพุทธ แต่ละนิกายเกิดขึ้นได้อย่างไร และทำไมชาวอินเดีย จึงยังคงรักษาความเชื่อในศาสนาฮินดูเอาไว้ได้อย่างเหนียวแน่น
ตามรอยพระพุทธเจ้า สารคดีที่จะเปิดเผยเรื่องราวอันยิ่งใหญ่ของพุทธศาสนาอย่างลึกถึงแก่น อย่างที่ไม่เคยมีมาก่อน ในประวัติศาสตร์ เพื่อให้เป็นสารคดีเชิงประวัติศาสตร์ โบราณคดีและมานุษยวิทยาที่สมบูรณ์ที่สุดแห่งศตวรรษ
รายชื่อเรื่องสารคดีแห่งศตวรรษ "ตามรอยพระพุทธเจ้า"
ตอนที่ ๑ : สู่ต้นกำเนิดแม่น้ำคงคา
ตอนที่ ๒ : ค้นพบกรุงกบิลพัสดุ์
ตอนที่ ๓ : การค้นพบความจริงอันยิ่งใหญ่ที่พุทธคยา
ตอนที่ ๔ : พาราณสี นคร ๔,๐๐๐ ปี
ตอนที่ ๕ : เปิดประตูเมืองราชคฤห์
ตอนที่ ๖ : การเดินทางครั้งสุดท้ายของพระพุทธเจ้า
ตอนที่ ๗ : กองทัพธรรมพระเจ้าอโศก วันที่โลกได้รู้จักพระพุทธเจ้า
ตอนที่ ๘ : ปรัชญาที่เปลี่ยนไป
ตอนที่ ๙ : วันที่พุทธหายไปจากอินเดีย
ตอนที่ ๑๐ : เมืองพุทธแห่งหิมาลัย
ตอนที่ ๑๑ : การกลับมาของสาวกพระพุทธเจ้า
ตอนที่ ๑๒ : ไขปริศนาการค้นพบอันยิ่งใหญ่
"ตามรอยพระพุทธเจ้า" คือสารคดีจากฝีมือคนไทยที่ถือว่ายิ่งใหญ่อย่างที่สุดเรื่องหนึ่ง ซึ่งเมื่อแพร่ภาพทางสถานีโทรทัศน์ช่อง 9 อสมท นั้น ก็ได้มีผู้ชมเฝ้าติดตามอย่างมากมาย
ในความยิ่งใหญ่นั้น มิใช่จะก่อเกิดขึ้นมาด้วยจำนวนเงินทองที่ทุ่มเทลงไปในการทำวิจัยค้นคว้าหรือเดินทางไปยังทุกสถานที่ซึ่งเมื่อสองพันปีก่อนหน้านี้ คือดินแดนที่พระพุทธองค์ทรงประกาศพระธรรม และมิใช่ด้วยจำนวนเวลาที่ยาวนานไม่น้อยกว่า 8 ปีในการดำเนินงาน แต่แท้ที่จริงแล้วความยิ่งใหญ่นี้ก่อเกิดขึ้นมาจากศรัทธาในการที่จะแสวงหาคำตอบที่ว่า พระพุทธเจ้าทรงตรัสรู้อะไร ในสภาพแวดล้อมแบบไหน และทรงเผยแพร่พระธรรมของพระองค์อย่างไร ท่ามกลางความเชื่อในสังคมที่เต็มไปด้วยเรื่องเทพเจ้าและเรื่องปาฏิหาริย์ อะไรที่ทำให้พุทธศาสนาสามารถแทงทะลุยอดเมฆหมอกแห่งอภิปรัชญาเหล่านั้นขึ้นมาได้ เช่นเดียวกับที่เราจะได้เห็นยุคสมัยแห่งความรุ่งเรืองและเสื่อมถอย
"ตามรอยพระพุทธเจ้า" เล่มนี้จึงเป็นทั้งสารคดีเชิงประวัติศาสตร์ โบราณคดี และมนุษยวิทยา ที่สมบูรณ์แบบที่สุดท่ามกลางกลิ่นอายของชมพูทวีป เพื่อค้นหาคำตอบอย่างถึงแก่น ซึ่งถูกถ่ายทอดจากบทโทรทัศน์มาเป็นหนังสือ ซึ่งชาวพุทธและผู้สนใจสามารถใช้เป็นกรอบในการดำเนินชีวิตและพัฒนาตนเองไปสู่สิ่งดีงามสูงสุด โดยให้ความสนใจในตัว "ธรรม" มากกว่า "พิธีกรรม"
สิ่งที่ยืนยันได้ว่าพระพุทธเจ้ามีตัวตนจริง ก็คือสถานที่ต่างๆ และหลักฐานในสถานที่นั้นๆ
ที่ยังคงหลงเหลือมายืนยันความเชื่อ โดยปรากฎเป็นภาพถ่ายมากมายที่ประกอบอยู่ภายในหนังสือเล่มนี้
เรื่องราวเรียงลำดับปูพื้นถึงความคิดความเชื่อของผู้คนในดินแดนชมพูทวีปสมัยก่อนพุทธกาลกันเลย
ไล่มาถึงการกำเนิดเจ้าชายสิทธัตถะ การเสด็จออกบวช การตรัสรู้ เผยแผ่พระธรรม และปรินิพพาน
ต่อเนื่องไปจนถึงเหตุการณ์หลังพุทธกาล ทั้งยุครุ่งเรืองและเสื่อมถอย
จนหายไปจากดินแดนชมพูทวีปถึง 700 ปี ก่อนที่กลับคืนมาดำรงอยู่ในแผ่นดินอินเดียอีกครั้งหนึ่ง
รวมทั้งเล่าถึงการแตกออกมาเป็นนิกายต่างๆ และการสร้างงานพุทธศิลป์
เรียกได้ว่า ครบถ้วนในเรื่องราวที่เกี่ยวข้องกับพุทธศาสนา
เราค่อยๆ อ่านไปเรื่อยๆ ไม่รีบเร่งอะไร เก็บรายละเอียดและทำความเข้าใจ
ถึงความเป็นมาและเป็นไปของ "พุทธศาสนา" ที่เรานับถืออยู่ สิ่งที่พระพุทธองค์ทรงสอนให้เคารพนั้นมิใช่ตัวพระองค์ แต่เป็น "ธรรมะ" ที่ทรงค้นพบและหลังจากนี้ เมื่อเราอ่านหนังสือกันเกี่ยวเนื่องด้วยพุทธประวัติและธรรมเราคงอ่านและทำความเข้าใจได้ดียิ่งขึ้น ..เพราะเรารู้ที่มาที่ไปชัดเจนแล้ว
You must have the Adobe Flash Player installed to view
this player.
this player.
สำรอง
สารคดี,
{[['']]}
ป้ายกำกับ:
สารคดี
การ์ตูนคุณธรรม 2
Posted by satasukh
Posted on วันศุกร์, สิงหาคม 09, 2556
with No comments
ป้ายกำกับ:
แอนนิเมชั่น
การ์ตูนคุณธรรม
Posted by satasukh
Posted on วันศุกร์, สิงหาคม 09, 2556
with No comments
ป้ายกำกับ:
แอนนิเมชั่น
การ์ตูนพุทธเจ้า ภาษาอังกฤษ ซับไทย
Posted by satasukh
Posted on วันศุกร์, สิงหาคม 09, 2556
with No comments
ป้ายกำกับ:
พระพุทธเจ้า,
แอนนิเมชั่น
พุทธเจ้า ฉบับมหายาน การ์ตูน
Posted by satasukh
Posted on วันศุกร์, สิงหาคม 09, 2556
with No comments
ป้ายกำกับ:
พระพุทธเจ้า,
แอนนิเมชั่น
พุทธประวัติ มหายาน (จีน) Buddha's Life Mahayana- Cartoon Story
Posted by satasukh
Posted on วันศุกร์, สิงหาคม 09, 2556
with No comments
More
We could not play this video on your device. Please contact us for feedback.
พระพุทธเจ้า,
แอนนิเมชั่น,
{[['']]}
ป้ายกำกับ:
พระพุทธเจ้า,
แอนนิเมชั่น
The Buddha Speaks of Amitabha Sutra [Eng Sub]
Posted by satasukh
Posted on วันศุกร์, สิงหาคม 09, 2556
with No comments
ป้ายกำกับ:
พระพุทธเจ้า,
แอนนิเมชั่น
ทำไมท่านโพธิธรรม (ตั๊กหม้อ) จึงเดินทางไปตะวันออก Why Has Bodhi-Dharma Left for the East? (Buddhist Movie)
Posted by satasukh
Posted on วันศุกร์, สิงหาคม 09, 2556
with No comments
A meditative film dealing with Seon Buddhist views on life, Why Has Bodhi-Dharma Left for the East? follows the lives of three Buddhist monks: a child, an adult, and an old man.
This film is largely about two Zen koans. The koans are: What is my original face before my mother and father were conceived?, and (In death,) where does the master of my being go?
The film’s title, although not explained literally in the film, is a reference to Bodhidharma, a 6th century Buddhist monk from India who transmitted Zen to China. The question, “Why has Bodhi-Dharma left for the east,” is echoed by the young boy’s question, “Why have we all left the world?” The entire film can be seen as as an answering of that question, so that the film itself becomes a koan.
This film is largely about two Zen koans. The koans are: What is my original face before my mother and father were conceived?, and (In death,) where does the master of my being go?
The film’s title, although not explained literally in the film, is a reference to Bodhidharma, a 6th century Buddhist monk from India who transmitted Zen to China. The question, “Why has Bodhi-Dharma left for the east,” is echoed by the young boy’s question, “Why have we all left the world?” The entire film can be seen as as an answering of that question, so that the film itself becomes a koan.
สำรอง
ภาพยนต์,
{[['']]}
ป้ายกำกับ:
ภาพยนต์
อิคคิวซัง เณรน้อยเจ้าปัญญา Ikkyū Sōjun (Buddhist Cartoon) Disc04
Posted by satasukh
Posted on วันศุกร์, สิงหาคม 09, 2556
with No comments
ป้ายกำกับ:
แอนนิเมชั่น
อิคคิวซัง เณรน้อยเจ้าปัญญา Ikkyū Sōjun (Buddhist Cartoon) Disc03
Posted by satasukh
Posted on วันศุกร์, สิงหาคม 09, 2556
with No comments
ป้ายกำกับ:
แอนนิเมชั่น
อิคคิวซัง เณรน้อยเจ้าปัญญา Ikkyū Sōjun (Buddhist Cartoon) Disc02
Posted by satasukh
Posted on วันศุกร์, สิงหาคม 09, 2556
with No comments
ป้ายกำกับ:
แอนนิเมชั่น
อิคคิวซัง เณรน้อยเจ้าปัญญา Ikkyū Sōjun (Buddhist Cartoon) Disc02
Posted by satasukh
Posted on วันศุกร์, สิงหาคม 09, 2556
with No comments
ป้ายกำกับ:
แอนนิเมชั่น
Three Holy Places of Guru Padmasambhava
Posted by satasukh
Posted on วันศุกร์, สิงหาคม 09, 2556
with No comments
In the film THREE SECRET PLACES you can see three holy places of Guru Padmasambava.They are The Sitavana cemetery near Bodgay,The Asura cave,where Guru Padmasambava realised the practice of Vadgara near Katmandu and Maratica-The Cave of immortality near Everest,where Padmasambava realised the immortality with his wife Mandarava.
There is also the self-arising TARA in this film. very holy.
There is also the self-arising TARA in this film. very holy.
{[['']]}
พระพุทธเจ้า สารคดี The Buddha PBS Documentary (2010)
Posted by satasukh
Posted on วันศุกร์, สิงหาคม 09, 2556
with No comments
A superbly-crafted documentary about the Buddha’s life and about Buddhist art and philosophy. It weaves together its own pleasant aesthetic with short animation clips. It features interviews with the Dalai Lama and current US poet laureate W.S Merwin (an inspiring talk given by which can be found here). The best thing about this documentary is that it is available in full for free here. The same site also has links to information about all the art included in the film.
พระพุทธเจ้า,
สารคดี,
{[['']]}
ป้ายกำกับ:
พระพุทธเจ้า,
สารคดี
Buddhism: Documentary Film
Posted by satasukh
Posted on วันศุกร์, สิงหาคม 09, 2556
with No comments
ป้ายกำกับ:
สารคดี
การเดินทางของพระถั๋งซำจัง The Road of Xuan Zang
Posted by satasukh
Posted on วันศุกร์, สิงหาคม 09, 2556
with No comments
《玄奘之路》简介
大型纪录片《玄奘之路》记录了高僧玄奘传奇而瑰丽的一生,第一次真实地再现了玄奘的西行之旅,是一部真正的西行史诗。西天取经的真实故事,牧人驰骋的草原帝国,神魔共舞的异域风情,如梦如幻的大唐盛世.
Xuanzang (Chinese: 玄奘; pinyin: Xuán Zàng; Wade–Giles: Hsüan-tsang) (c. 602 – 664) was a famous Chinese Buddhist monk, scholar, traveler, and translator who described the interaction between China and India in the early Tang period. Born in Henan province of China in 602 or 603, from boyhood he took to reading sacred books, including the Chinese Classics and the writings of the ancient sages.
While residing in the city of Luoyang, Xuanzang entered Buddhist monkhood at the age of thirteen. Due to the political and social unrest caused by the fall of the Sui dynasty, he went to Chengdu in Sichuan (Szechuan), where he was ordained at the age of twenty. From Xingdu, he travelled throughout China in search of sacred books of Buddhism. At length, he came to Chang’an, then under the peaceful rule of Emperor Taizong of Tang. Here Xuanzang developed the desire to visit India. He knew about Faxian’s visit to India and, like him, was concerned about the incomplete and misinterpreted nature of the Buddhist scriptures that reached China.
He became famous for his seventeen year overland journey to India, which is recorded in detail in his autobiography and a biography, and which provided the inspiration for the epic novel Journey to the West.
ทั่วไป,
สารคดี,
{[['']]}
พุทธการ์ตูน The life of Buddha cartoon
Posted by satasukh
Posted on วันศุกร์, สิงหาคม 09, 2556
with No comments
พระพุทธเจ้า,
แอนนิเมชั่น,
{[['']]}
ป้ายกำกับ:
พระพุทธเจ้า,
แอนนิเมชั่น
พุทธานุภาพ (ศรราม ละครทีวี)
Posted by satasukh
Posted on วันศุกร์, สิงหาคม 09, 2556
with No comments
ทั่วไป,
ละคร. ซีรีย์,
{[['']]}
ป้ายกำกับ:
ทั่วไป,
ละคร. ซีรีย์
ชีวประวัติข้งจื้อ Confucius Biography (ซีรีย์)
Posted by satasukh
Posted on วันศุกร์, สิงหาคม 09, 2556
with No comments
Kong Qui, better known as Confucius, was born in 551 B.C. in the Lu state of China. His teachings, preserved in the Analects, focused on creating ethical models of family and public interaction, and setting educational standards. He died in 479 B.C. Confucianism later became the official imperial philosophy of China, and was extremely influential during the Han, Tang and Song dynasties.
เมื่อขงจื๊อเกิดมาได้เพียง3ปี บิดาที่มีร่างกายสูงใหญ่และแข็งแรงได้เสียชีวิตจากไป ขงจื๊อในวัยเยาว์ชอบเล่นตั้งโต๊ะเซ่นไหว้ ชอบเลียนแบบท่าทางพิธีกรรมของผู้ใหญ่ เมื่ออายุได้ 15 ปี ฝักใฝ่การเล่าเรียน อายุ 19 ปี ได้แต่งงานกับแม่นางหยวนกวน ในปีถัดมาได้ลูกชาย ให้ชื่อว่า คงลี้ อายุ 20 ขงจื๊อได้เป็น เสมียนยุ้งฉาง และได้ใส่ใจความถูกต้องเนื่องจากทำงานกับตัวเลข ต่อมาได้ทำหลายหน้าที่รวมทั้ง คนดูแลสัตว์ คนคุมงานก่อสร้าง และในระหว่างที่ศึกษาพิธีกรรมจากรัฐโจว ได้โอกาสไปเยี่ยมเล่าจื๊อ ขงจื๊อมีความสัมพันธ์อันดีกับ เสนาธิบดีของอ๋องจิง และได้ฝากตัวเป็นพ่อบ้าน และได้มีการพูดคุยกับอ๋องในการวางแผน และหลักการปกครอง แต่เนื่องจากโดนใส่ความจากที่ปรึกษาของรัฐ ขงจื๊อจึงเดินทางต่อไปรัฐอื่น ภายหลังได้ฝากฝังตัวเองช่วยบ้านเมือง กับอ๋องติง และได้รับการแต่งตั้งดินแดนส่วนกลางของลู่ เป็นเสนาธิบดีใหญ่ บ้านเมืองเจริญรุ่งเรือง อาชญากรลดลง คนมีคุณธรรมและเคารพผู้อาวุโส และในระหว่างนั้น ได้มีการแบ่งแย่งดินแดน การแย่งชิงเมืองต่างๆ เกิดขึ้น ขงจื๊อได้เดินทางจากเมืองไปสู่เมืองต่างๆ เรียนรู้หลักการปกครอง และวัฒนธรรมท้องถิ่นแต่ละที่ ภายหลังได้ถูกหมายเอาชีวิต และถูกขับไล่ให้ตกทุกข์ได้ยาก และได้กลับมาสู่แคว้นลู่อีกครั้ง ขงจื๊อได้เริ่มรวบรวบพิธีกรรมโบราณ บทเพลง ตำราโบราณ และลำดับเหตุการณ์ต่างๆ ที่เกิดขึ้น และได้สอนสั่งลูกศิษย์แถบแม่น้ำซูกับแม่น้ำสี ภายหลังขงจื๊อได้ล้มป่วยหนัก และเจ็ดวันให้หลัง ได้อำลาโลก ตรงกับเดือนสี่ทางจันทรคติ ในปีที่ 16 รัชสมัยอ๋องอี้ รวมอายุได้ 73 ปี
เมื่อขงจื๊อเกิดมาได้เพียง3ปี บิดาที่มีร่างกายสูงใหญ่และแข็งแรงได้เสียชีวิตจากไป ขงจื๊อในวัยเยาว์ชอบเล่นตั้งโต๊ะเซ่นไหว้ ชอบเลียนแบบท่าทางพิธีกรรมของผู้ใหญ่ เมื่ออายุได้ 15 ปี ฝักใฝ่การเล่าเรียน อายุ 19 ปี ได้แต่งงานกับแม่นางหยวนกวน ในปีถัดมาได้ลูกชาย ให้ชื่อว่า คงลี้ อายุ 20 ขงจื๊อได้เป็น เสมียนยุ้งฉาง และได้ใส่ใจความถูกต้องเนื่องจากทำงานกับตัวเลข ต่อมาได้ทำหลายหน้าที่รวมทั้ง คนดูแลสัตว์ คนคุมงานก่อสร้าง และในระหว่างที่ศึกษาพิธีกรรมจากรัฐโจว ได้โอกาสไปเยี่ยมเล่าจื๊อ ขงจื๊อมีความสัมพันธ์อันดีกับ เสนาธิบดีของอ๋องจิง และได้ฝากตัวเป็นพ่อบ้าน และได้มีการพูดคุยกับอ๋องในการวางแผน และหลักการปกครอง แต่เนื่องจากโดนใส่ความจากที่ปรึกษาของรัฐ ขงจื๊อจึงเดินทางต่อไปรัฐอื่น ภายหลังได้ฝากฝังตัวเองช่วยบ้านเมือง กับอ๋องติง และได้รับการแต่งตั้งดินแดนส่วนกลางของลู่ เป็นเสนาธิบดีใหญ่ บ้านเมืองเจริญรุ่งเรือง อาชญากรลดลง คนมีคุณธรรมและเคารพผู้อาวุโส และในระหว่างนั้น ได้มีการแบ่งแย่งดินแดน การแย่งชิงเมืองต่างๆ เกิดขึ้น ขงจื๊อได้เดินทางจากเมืองไปสู่เมืองต่างๆ เรียนรู้หลักการปกครอง และวัฒนธรรมท้องถิ่นแต่ละที่ ภายหลังได้ถูกหมายเอาชีวิต และถูกขับไล่ให้ตกทุกข์ได้ยาก และได้กลับมาสู่แคว้นลู่อีกครั้ง ขงจื๊อได้เริ่มรวบรวบพิธีกรรมโบราณ บทเพลง ตำราโบราณ และลำดับเหตุการณ์ต่างๆ ที่เกิดขึ้น และได้สอนสั่งลูกศิษย์แถบแม่น้ำซูกับแม่น้ำสี ภายหลังขงจื๊อได้ล้มป่วยหนัก และเจ็ดวันให้หลัง ได้อำลาโลก ตรงกับเดือนสี่ทางจันทรคติ ในปีที่ 16 รัชสมัยอ๋องอี้ รวมอายุได้ 73 ปี
สารคดี,
{[['']]}
ป้ายกำกับ:
สารคดี
ยูราเซีย คันธาระ Eurasia : Gandhara
Posted by satasukh
Posted on วันศุกร์, สิงหาคม 09, 2556
with No comments
Gandhara, L'envol Du Bouddhisme - Eurasia
De récentes découvertes permettent de mieux comprendre comment le bouddhisme, dont on trouve les origines en Inde, s'est diffusé dans toute l'Asie. C'est l'influence conjointe de l'hellénisme - importé en Inde par Alexandre le Grand - et des Kushanas, - des nomades zoroastriens - qui a contribué à répandre le bouddhisme, à travers la pensée dite Mahayana. La capitale de cette tendance philosophique était la région du Gandhara, située dans l'actuel Pakistan. Les vestiges de ce qui fut un royaume jusqu'au VIIe siècle témoignent de l'influence hellénique sur l'art bouddhique du Gandhara.
สำรอง
Gandhara, l'envol du bouddhisme - Eurasia
สารคดี,
{[['']]}
ป้ายกำกับ:
สารคดี
ตำนานภาคกลาง พุทธศาสนาในประเทศจีน Legends of The Central Plain HQ Buddhism in China
Posted by satasukh
Posted on วันศุกร์, สิงหาคม 09, 2556
with No comments
The Central Plain, or Zhongyuan (Chinese: 中原; pinyin: Zhōngyuán), refers to the area on the lower reaches of the Yellow River which formed the cradle of Chinese civilization. It forms part of the North China Plain.
In its narrowest sense, the Central Plain covers modern-day Henan, the southern part of Hebei, the southern part of Shanxi, and the western part of Shandong province. A broader interpretation of the Central Plain's extent would add the Guanzhong plain of Shaanxi, the northwestern part of Jiangsu, and parts of Anhui and northern Hubei.
In its narrowest sense, the Central Plain covers modern-day Henan, the southern part of Hebei, the southern part of Shanxi, and the western part of Shandong province. A broader interpretation of the Central Plain's extent would add the Guanzhong plain of Shaanxi, the northwestern part of Jiangsu, and parts of Anhui and northern Hubei.
สารคดี,
{[['']]}
ป้ายกำกับ:
สารคดี